สร้างเว็บEngine by iGetWeb.com
Cart รายการสินค้า (0)

การประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์

การประมวลผลข้อมูลของคอมพิวเตอร์

โครงสร้างด้านการประมวลของคอมพิวเตอร์ ประกอบด้วย

Input -- > Process -- > Output

แสดงดังภาพตัวอย่างข้างล่างนี้

4081dsfe.jpg

 





  1. Input : User ทำการ Input data เข้าสู่ระบบ   โดยอาศัยอุปกรณ์ Input device

  2.  Process : เครื่องเริ่มทำการประมวลผล  โดยข้อมูลที่ User  Input เข้ามาจะส่งไปเก็บใน

หน่วยความจำหลัก (Memory :RAM)  จากนั้น Control  Unit จะควบคุมการไหลของข้อมูลผ่านระบบ Bus system จาก  RAM  ไปยัง  CPU และ ALU   เพื่อให้ทำงานตามคำสั่ง

ระหว่างการประมวลผล  Register จะคอยเก็บชุดคำสั่งขณะที่ load ข้อมูลอยู่  และ Cache จะคอยดักชุดคำสั่งที่ CPU เรียกใช้บ่อย ๆ  และคอยจัดเตรียมข้อมูลหรือชุดคำสั่งเหล่านั้นเพื่อเอื้อให้ CPU ประมวลผลข้อมูลได้เร็วขึ้น ซึ่งการประมวลผลของเครื่องนี้จะทำงานตามรอบสัญญาณนาฬิกาของเครื่อง (Machine cycle)

Note:

                Machine cycle  หมายถึง  เวลาที่ใช้ในการประมวลผลชุดคำสั่งของเครื่องต่อรอบสัญญาณ นาฬิกา              เป็นเวลาที่ร้องขอการทำงาน เช่น การเรียก (Load) ข้อมูล,  การประมวลผล (Execute)  และการจัดเก็บข้อมูล  ซึ่งใน Machine cycle  จะประกอบด้วย 2 ช่วงจังหวะการทำงาน ได้แก่

1.   Instruction time ( I-time)  หมายถึง  ช่วงเวลาที่   Control unit รับคำสั่ง (Fetch)

จาก memory และนำคำสั่งนั้นใส่ลงไปใน register    จากนั้น Control unit จะทำการถอดรหัสชุดคำสั่งและพิจารณาที่อยู่ของข้อมูลที่ต้องการ  

2. Execution time  หมายถึง   ช่วงเวลาที่  Control unit จะย้ายข้อมูลจาก  memory ไป

ยัง registers  และส่งข้อมูลให้    ALU จะทำงานตามคำสั่งนั้น    เมื่อ ALU ทำงานเสร็จ  Control unit จะเก็บผลลัพธ์ไว้ใน memory   ก่อนส่งไปแสดงผลที่ Monitor หรือ Printer

3.  Output : หลังจาก CPU ประมวลผลเสร็จ Control  Unit จะควบคุมการไหลของข้อมูลผ่าน Bus  system เพื่อส่งมอบ (Transfer)  ข้อมูลจาก CPU  มายังหน่วยความจำ  จากนั้นส่งข้อมูลออกไปแสดงผลที่ Output device (หากคุณใช้ card เพิ่มความเร็วในการแสดงผลของจอภาพ ก็จะส่งผลต่อความเร็วของระบบได้เช่นกัน) ผลลัพธ์ที่ได้จากการประมวลผลข้อมูล (Data)  เรียกว่า   ข่าวสารหรือสารสนเทศ (Information)

4.  Storage : หน่วยจัดเก็บข้อมูล ซึ่งหมายถึงสื่อจัดเก็บสำรอง เช่น Harddisk,  Disk หรือ CD ทำงาน 2 ลักษณะ คือ  การ Load ข้อมูลเพื่อนำไปประมวลผล: ถ้าข้อมูลถูกจัดเก็บอยู่ใน Harddisk แล้วคุณต้องการ  Load  ข้อมูลขึ้นมาแก้ไขหรือประมวลผล ข้อมูลที่ถูก Load และนำไปเก็บในหน่วยความจำ (Memory: RAM) จากนั้นส่งไปให้ CPU

การเก็บข้อมูลเมื่อประมวลผลเสร็จ: เมื่อ CPU ประมวลผลข้อมูลเสร็จ ข้อมูลนั้นจะถูกเก็บอยู่ใน

     หน่วยความจำ (Memory: RAM) แต่ RAM จะเก็บข้อมูลเพียงชั่วขณะที่เปิดเครื่อง (Power On)  เมื่อไรที่คุณปิดเครื่อง โดยที่ยังไม่สั่งบันทึกข้อมูล (Save)   ข้อมูลก็จะหาย (Loss)   ดังนั้นหาก User  ต้องการจัดเก็บข้อมูลเพื่อไว้งานในครั้งต่อไปจะต้องสั่งบันทึก โดยใช้คำสั่ง Save File  ข้อมูลก็จะถูกนำไปเก็บในสื่อจัดเก็บสำรอง ได้แก่  Disk,  Harddisk, CD  หรือ  Thumb Drive แล้วแต่ว่าคุณจะเลือก Save ไว้ในสื่อชนิดใด



ที่มาจากhttp://images.google.co.th/
เครดิต konmun.com

ความคิดเห็น

  1. 1
    สุภาพร
    สุภาพร nubo_SUPAPAORN@HOTMAIL.com 06/08/2010 09:18

    มีความรู้มากเลยค่ะ

  2. 2
    สุภาพร
    สุภาพร nubo_SUPAPAORN@HOTMAIL.com 06/08/2010 09:20

    มีความรู้มากเลยค่ะและขอบคุณมากนะ

  3. 3
    สุภาพร
    สุภาพร nubo_SUPAPAORN@HOTMAIL.com 06/08/2010 09:21

    มีความรู้มากเลยค่ะและขอบคุณมากนะ


    -V[86i,KD8JT

  4. 4
    kiss
    kiss som-kiss-007@hotmail.com 27/09/2010 11:40
  5. 5
    fak
    fak akkarat024@singklang.com 14/12/2010 10:38
  6. 6
    fak
    fak akkarat024@thaimail.com 14/12/2010 10:41
  7. 7
    Zone4 1-1
    Zone4 1-1 hollo_26@hotmail.com 04/07/2012 10:29

    ได้ความรู้ดีมาก แต่ ผม ไม่รู้เรือง!

  8. 8
    1-1 ไหม
    1-1 ไหม barame303@hotmail.com 04/07/2012 10:34

    อิอิ ฉลาดเนาะ ต้องเจอโดราเถื่อนซะมั่ง ควย!

  9. 9
    boom
    boom boom_love111@hotmail.com 05/11/2012 13:10

    งง

  10. 10
    boy
    boy boy_zab.r@hotmail.com 05/11/2012 13:11

แสดงความคิดเห็น

* *

 

*

view