สร้างเว็บEngine by iGetWeb.com
Cart รายการสินค้า (0)

วิธีเลือกซื้อลำโพง (Speaker)

วิธีเลือกซื้อลำโพง (Speaker)

วิธีเลือกซื้อลำโพง (Speaker)

ลำโพง (Speaker) ถือว่าเป็นอุปกรณ์ที่สามารถถ่ายทอดพลังเสียงออกมาให้เราได้ยินกันได้ ซึ่งในปัจจุบันถือได้ว่า ลำโพง (Speaker) ได้กลายมาเป็นส่วนหนึ่งในการทำงานและในชีวิตประจำวันของคนเราไปแล้ว ในการเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) ที่ถูกใจไว้ใช้งานั้นถือว่าเป็นเรื่องที่มีความสำคัญมากเหมือนกัน ดังนั้นจึงควรต้องศึกษาถึงรายละเอียดของ ลำโพง (Speaker) ให้ดีก่อนการเลือกซื้อ เพื่อที่จะทำให้คุณได้ ลำโพง (Speaker) ที่เหมาะสมกับการใช้งานของคุณมากที่สุด

 

ปัจจุบันเทคโนโลยีต่างๆได้มีการพัฒนาขึ้นไปมากจากแต่ก่อน รวมไปถึง ลำโพง (Speaker) ที่มีไว้สำหรับต่อพ่วงกับคอมพิวเตอร์ของเราด้วยที่ได้พัฒนามากขึ้นเช่นกัน ลำโพง (Speaker) สามารถให้ความบันเทิงสำหรับผู้ที่สนใจพลังเสียงอันไพเราะของ ลำโพง (Speaker) เหล่านี้ โดยใช้สำหรับในการชมภาพยนต์ที่ท่านชื่นชอบ ใช้ในการฟังเพลงโปรด ใช้ในการเล่นเกมต่างๆ นอกจากนี้ยังใช้สำหรับในการฟังเพลงและดูหนังบนอินเตอร์เน็ต เป็นการเพิ่มอรรถรสในการฟังที่มากขึ้น สำหรับผู้ที่ซื้อคอมพิวเตอร์มาใช้งาน แน่ใจเหลือเกินว่าผู้ซื้อจำเป็นต้องหา ลำโพง (Speaker) สักตัวมาด้วยเป็นแน่แท้ โดยเฉพาะคอมพิวเตอร์ที่ซื้อมาใช้งานที่บ้านและต้องการให้บ้านของท่านมีความครึกครื้นจากระบบเสียงนี้ ลำโพง (Speaker) มัลติมีเดียเป็นอุปกรณ์ที่ขาดไม่ได้และเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญมากเลยนะครับ ลำโพง (Speaker) คอมพิวเตอร์นั้นมีอยู่มากมายหลายรุ่นหลายยี่ห้อให้เลือกใช้กัน แต่ละรุ่นก็มีเสียงที่แตกต่างกันออกไป เสียงดังกับเสียงดีนั้นเป็นเสียงที่คนละอย่างกัน เสียงดีย่อมประกอบไปด้วย เสียงที่มีความใส มีเสียงทุ้ม เสียงแหลม ออกมาอย่างครบถ้วน สามารถให้ความบันเทิงได้เต็มประสิทธิภาพ ซึ่งแตกต่างจากเสียงดัง เพราะบางทีนั้น ลำโพง (Speaker) ที่ให้เสียงดังอย่างเดียวแต่ไม่สามารถให้เสียงที่ไพเราะได้ ก็ไม่ควรเลือกซื้อมาใช้กัน แต่ ลำโพง (Speaker) ที่มีคุณภาพนั้นต้องแลกกับการที่ต้องเพิ่มเงินในการซื้อที่มากขึ้นกว่าเดิม แต่เมื่อแลกกับความรื่นรมย์ในการใช้คอมพิวเตอร์แล้วนับว่าเป็นการลงทุนที่คุ้มค่ามาก ลำโพง (Speaker) นี้สามารถที่จะทำให้คอมพิวเตอร์กลายเป็นชุดเครื่องเสียงแบบมินิคอมโปได้ เป็นการเพิ่มบรรยากาศในการใช้งานที่มากขึ้น
ในการเลือกซื้อจึงต้องทำความเข้าใจเกี่ยวกับ ลำโพง (Speaker) แบบต่างๆให้เข้าใจก่อนว่าแต่ละรุ่นมีการใช้งานอย่างไร แล้วเหมาะกับความต้องการของท่านมากน้อยเพียงไหน ดังนั้น เราจึงต้องมาทำความเข้าใจเกี่ยวกับรายละเอียดต่างๆของ ลำโพง (Speaker) กันก่อนนะครับ เพื่อที่จะทำให้ท่านได้ ลำโพง (Speaker) ที่มีคุณภาพ และเหมาะกับการใช้งานของท่านมากที่สุด

ชนิดของ ลำโพง (Speaker)
เมื่อเราสังเกต ลำโพง (Speaker) ในอดีตที่ผ่านมา คุณลักษณะที่สำคัญของ ลำโพง (Speaker) ที่จะใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ของเรานั้น ที่จะต้องมีก็คือ การที่มีคุณสมบัติในการป้องการสนามแม่เหล็ก (Magnetic Shield) เพื่อที่จะป้องกันสนามแม่เหล็กจาก ลำโพง (Speaker) ไปรบกวนการทำงานของจอมอนิเตอร์ ซึ่งอาจทำให้การแสดงผลของมอนิเตอร์ผิดพลาดได้เช่นจอมอนิเตอร์มีสีที่ผิดปรกติเปลี่ยนไปจากเดิม และอาจทำให้มอนิเตอร์เสียหายได้ ส่วนทางด้านคุณภาพเสียง นั้นยังไม่เป็นที่สนใจมากนัก เนื่องจากตอนนั้น เสียงที่ต้องการจากคอมพิวเตอร์ มักจะมาจากการเล่นการฟังเพลงและการเล่นเกมเป็นหลัก ที่ในขณะนั้นคุณภาพเสียงที่ออกมา ยังมีคุณภาพไม่สูงมากนัก และการ์ดเสียงในขณะนั้น ก็ยังมีราคาที่สูงอยู่ แต่คุณภาพไม่ได้สูงตามไปด้วย ลำโพง (Speaker) สมัยก่อนจะมีเพียง แบบ 2 ลำโพง (Speaker) เท่านั้น โดยถ้าแบ่งชนิดของ ลำโพง (Speaker) สามารถแบ่งได้เป็น 2 ชนิดก็คือ

       1.ขยายเสียงในตัว
       2.แบบที่ไม่มีวงจรขยายเสียง

สำหรับ ลำโพง (Speaker) ที่ไม่วงจรขยายเสียงในตัวนั้น ขนาดของกรวย ลำโพง (Speaker) ที่ใช้ ภายในตัว ลำโพง (Speaker) จะมีขนาดเล็กประมาณ 2 นิ้วเท่านั้น ลำโพง (Speaker) ชนิดนี้จะใช้ความสามารถของการ์ดเสียง ในการขยายเสียงออก ลำโพง (Speaker) การใช้ ลำโพง (Speaker) ประเภทนี้จึงต้องการการ์ดเสียง ที่มีวงจรขยายเสียงมาด้วย อย่างเช่นซาวนด์การ์ด Creative SB Vibra 128 เมื่อก่อนจะมีออปชันในการปรับเสียงต่างเบส ความดังของเสียง ไม่เช่นนั้นเสียงที่ออกมา จะไม่ดังเพียงพอต่อการรับฟังของคุณ คุณภาพเสียงที่ออกมาจะขึ้นอยู่กับการ์ดเสียงเป็นหลัก ลำโพง (Speaker) ชนิดนี้จะไม่มีปุ่มปรับเสียงใดๆ บนตัว ลำโพง (Speaker) โดยจะต้องปรับจากซอฟต์แวร์ควบคุมการทำงานของการ์ดเสียงบนวินโดว์โดยตรง ลำโพง (Speaker) อีกชนิดหนึ่งก็คือ ลำโพง (Speaker) ที่มีวงจรขยายเสียงภายในตัว บนตัว ลำโพง (Speaker) ก็จะปุ่มสำหรับปรับเสียงต่างๆ เช่น ปุ่ม Volume สำหรับปรับความดังของเสียง ปุ่ม Base สำหรับปรับระดับความดังของเสียงทุ้มและปุ่ม Treble สำหรับปรับระดับความดังของเสียงแหลม อันนี้แล้วแต่ว่าการออกแบบของ ลำโพง (Speaker) เหล่านี้เป็นอย่างไร



ส่วนประกอบของ ลำโพง (Speaker)

ลำโพง (Speaker) ที่เราเห็นอยู่ในท้องตลาดนั้น โดยส่วนใหญ่ ลำโพง (Speaker) จะอยู่ในรูปของตู้ ลำโพง (Speaker) ที่อาจจะทำจากไม้หรือพลาสติกที่มีความทนทาน ซึ่ง ลำโพง (Speaker) ที่ใช้กับคอมพิวเตอร์โดยส่วนใหญ่จะมีตู้ ลำโพง (Speaker) ที่ทำขึ้นจากพลาสติก โดยภายในจะประกอบด้วย Driver หรือตัวดอก ลำโพง (Speaker) ซึ่งจะมีขนาดที่แตกต่างกันออกไป และวงจรอิเล็กทรอนิกส์ที่ให้กำเนิดเสียง ซึ่งได้แก่ Amplifier และ Crossover Network ซึ่งอุปกรณ์ภายในเหล่านี้จะเป็นตัวกำหนดขนาดหรือรูปแบบเสียงของ ลำโพง (Speaker) ที่ออกมา จำนวนดอก ลำโพง (Speaker) ที่ใช้ก็จะมีผลต่อความเป็นธรรมชาติของเสียงที่ออกมา ถ้ามีดอก ลำโพง (Speaker) หลายตัวก็จะทำให้เสียงที่ได้ครอบคลุมย่านความถี่ของเสียงได้มากกว่า ให้รายละเอียดของทุกชิ้นเครื่องดนตรีได้ดีกว่า ลำโพง (Speaker) แบบ 2 ทาง จะประกอบด้วย ลำโพง (Speaker) ของวูเฟอร์ และทวีตเตอร์ ในย่านความถี่เสียงกลางและเสียงต่ำจะถูกขับออกทางวูเฟอร์ ส่วนความถี่เสียงสูงก็จะถูกขับออกทางทวีตเตอร์ สำหรับ ลำโพง (Speaker) แบบ 3 ทาง ก็จะประกอบด้วย ซับวูเฟอร์, วูเฟอร์ และทวีตเตอร์ เสียงต่ำสุดก็จะถูกขับออกทางซับวูเฟอร์ เสียงกลางจะถูกขับออกทางวูเฟอร์ และเสียงแหลมก็จะถูกขับออกทางทวีตเตอร์

ลำโพง (Speaker) แบบหลายทางจำเป็นจะต้องมีอุปกรณ์ที่เรียกว่า Crossover Network เป็นตัวแบ่งสัญญาณเสียงในแต่ละย่านออกจากกันและจ่ายไปให้ ลำโพง (Speaker) ที่ถูกต้อง ซึ่งอาจจะเป็นสองทางหรือสามทางแล้วแต่ว่าเป็น ลำโพง (Speaker) แบบไหน นอกจากนี้ Crossover Network ยังทำหน้าที่ในการควบคุมความสมดุลของเสียงในแต่ละย่านความถี่ พร้อมทั้งมีระบบการป้องกันการทำงานที่เกินกำลังของ ลำโพง (Speaker) และการป้องกันระดับความถี่ของเสียงที่สูงเกินกว่า ลำโพง (Speaker) จะรับได้ เรามาดูรายละเอียดเกี่ยวกับ ลำโพง (Speaker) Tweeter , ลำโพง (Speaker) Woofer, และ ลำโพง (Speaker) Sub Woofer กัน

ลำโพง (Speaker) Tweeter  ทวีตเตอร์เป็น ลำโพง (Speaker) ที่ใช้สำหรับขับเสียงความถี่สูง โดยทั่วไปจะมีความถี่เกินจาก 1.5 KHz ขึ้นไป 
ลำโพง (Speaker) Woofer   ลำโพง (Speaker) วูเฟอร์จะใช้สำหรับขับเสียงความถี่ต่ำ คือในระดับความถี่ไม่เกิน 1.5 KHz เนื่องจากความถี่ต่ำมีความยาวของคลื่นค่อนข้างมาก ลำโพง (Speaker) วูเฟอร์จึงต้องมีขนาดใหญ่เพื่อให้สามารถขับอากาศได้เพียงพอสำหรับสร้างเสียงความถี่ต่ำ ยิ่งวูเฟอร์มีขนาดใหญ่เท่าใด กำลังในการขับและความดังของเสียงเบสก็จะมีมากขึ้นเท่านั้น วูเฟอร์จะใช้ในการขับเสียงกลางและเสียงต่ำ
ลำโพง (Speaker) Sub Woofer  ซับวูเฟอร์เป็น ลำโพง (Speaker) ที่ใช้ขับเสียงความถี่ต่ำที่สุด คือในระดับความถี่ถึง 500 Hz ยิ่งขนาดของ ลำโพง (Speaker) ซับวูเฟอร์มีขนาดใหญ่มากเท่าใด พลังในการขับก็จะมีมากขึ้นเท่านั้น ในระบบ ลำโพง (Speaker) ที่มีซับวูเฟอร์จะให้เสียงในระดับความถี่ต่ำได้ดีเป็นพิเศษ
 
ลำโพง (Speaker) แบบต่างๆ

           ท่านหลายคนที่กำลังหา ลำโพง (Speaker) สักตัวไว้ใช้งาน ไม่ว่าจะเป็น ลำโพง (Speaker) แบบ 2.1, 4.1, 5.1,6.1,7.1 แชนแนล ท่านรู้ไหมว่า ลำโพง (Speaker) แบบต่างๆ นั้นมีความแตกต่างกันอย่างไร            เราจะมาไขความสงสัยนี้ให้นะครับ ก่อนอื่นท่านต้องทำความเข้าใจกับคำเหล่านี้ก่อนนะครับ

Mono (1 channel )


คำว่า MONO นี้มีความหมายว่าอะไร หลายคนคงจะเคยเห็น วิทยุที่มี ลำโพง (Speaker) เดียว หรือ gramophone เช่น วิทยุสมัยก่อนครับ หลักการของ Mono คือส่งสัญญานเสียงออกมาที่ ลำโพง (Speaker) ตัวหลัง และตัวเดียว โดยที่ Mono นี้ไม่มี มโนภาพของเสียง อีกความหมายหนึ่งคือ เราไม่สามารถบอกได้ว่า เสียงนี้มาจากตำแหน่งไหน และมาจากที่ใด Mono นั้นจะไม่เหมือนกับพวก stereo และ multi-speaker อื่นๆ หากเราเอา ลำโพง (Speaker) Mono ไปเล่นกับเครื่องเสียงที่เป็น stereo เสียงที่ออกมาก็ยังเป็น Mono อยู่ดี แต่เสียงจะออกมาจาก ลำโพง (Speaker) 2 ลำโพง (Speaker) แต่เสียงที่เราได้รับทั้ง 2 ลำโพง (Speaker) จะเป็นเสียงๆเดียวกัน เหมือนกันทั้ง 2 ลำโพง (Speaker) เหมือนว่าเสียงนั้นมาจากที่เดียวกัน



หลักการของเสียง Mono ที่เล่นกับ เครื่องเล่น Stereo



Stereo (2 channel )

เสียงแบบ Stereo นี้จะมีความแตกต่างจาก Mono มากพอสมควรทีเดียว โดยในการจัดวาง ลำโพง (Speaker) นั้นจะต้องจัดวาง ลำโพง (Speaker) ทั้ง 2 ตัว โดยที่ตัวหนึ่งอยู่ทางซ้าย และอีกตัวหนึ่งอยู่ทางขวาของผู้ฟัง โดยเสียงแบบ Stereo นี้เราจะสามารถบอกสถานที่ของตำแหน่งของเสียงได้ ซึ่งต่างจาก ลำโพง (Speaker) แบบ Mono เช่น เมื่อเราเปิดเพลง เพลงที่เราได้ยินกันนี้ อาจจะได้ยินเสียงของกลอง อาจจะอยู่ตรงกลาง เสียงกีต้าร์อยู่ด้านขวาของ ลำโพง (Speaker) เสียงเปียโนอยู่ทางด้านซ้ายของ ลำโพง (Speaker) และเสียงนักร้องจะ อยู่ตรงกลาง ทำให้เสียงที่ได้นั้นมีความไพเราะมากยิ่งขึ้น ซึ่งเป็น ลำโพง (Speaker) ที่ดีกว่า ลำโพง (Speaker) แบบแรก



หลักการของเสียงแบบ stereo



Speaker 2.1 channel

ลำโพง (Speaker) แบบ 2.1 แชนแนลนี้เป็น ลำโพง (Speaker) ที่ได้มีการพัฒนามาจาก ลำโพง (Speaker) แบบ 2 แชนแนล คือจะมีการเพิ่ม ลำโพง (Speaker) ซับวูเฟอร์เข้ามาอีกตัว ซึ่งสามารถเพิ่มพลังเสียงเบสขึ้นมา ทำให้มีเสียงที่ดียิ่งขึ้น ซึ่งในปัจจุบัน ลำโพง (Speaker) แบบนี้เป็น ลำโพง (Speaker) ที่ได้รับความนิยมสูง เนื่องจากเป็น ลำโพง (Speaker) ที่มีราคาไม่แพงมากนัก และสามารถให้เสียงที่ดี สามารถติดตั้งได้ง่าย

ตัวอย่าง ลำโพง (Speaker) แบบ 2.1 แชนแนล 
4 Point Surround ( 4.1 channel)
โดย ลำโพง (Speaker) แบบนี้จะประกอบไปด้วย ลำโพง (Speaker) มากถึง 4 ตัว และ subwoofer อีก 1 ตัว เรียกอีกอย่างว่าเป็น ลำโพง (Speaker) แบบ 4.1 ซึ่ง ลำโพง (Speaker) แบบนี้ต้องใช้คู่กับซาวนด์การ์ดที่เป็นแบบ 4.1 ด้วย ซึ่งเป็นระบบที่ใช้กันมากในปัจจุบันนี้ โดย ลำโพง (Speaker) 4 ตัวนี้จะจัดอยู่ในตำแหน่งที่ต่างกันคือ หน้าซ้าย,หน้าขวา,หลังซ้าย,หลังขวา และ subwoofer โดยที่ ลำโพง (Speaker) Subwoofer นี้จะไม่นับเป็น ลำโพง (Speaker) ที่ 5 เพราะเป็น ลำโพง (Speaker) ที่มีความถี่ต่ำ เขาจึงนับแค่ .1 โดย แต่ล่ะ ลำโพง (Speaker) ของ 4 Point Surround จะออกเสียงที่แต่ต่างกัน โดยแต่ล่ะตัวมีหน้าที่แตกต่างกันและมีสัญญาณเป็น ของตัวเอง ยกเว้น Subwoofer ที่ต้องอาศัยความถี่ของ ลำโพง (Speaker) ทั้ง 4 ตัว ในการออกเสียงแทน



หลักการของ ลำโพง (Speaker) แบบ 4.1



Destop Theater 5.1 (6 channel)

โดย ลำโพง (Speaker) แบบ 5.1 นี้จะใหญ่กว่า ลำโพง (Speaker) แบบ 4.1 ขึ้นมาอีกหน่อย ที่แตกต่างก็คือ จะเพื่มช่องสัญญาณ ขึ้นมาอีก 2 Channel ให้กับ ลำโพง (Speaker) ตัวกลางที่เพื่มเข้ามาและ subwoofer โดยแบบ 5.1 นี้ Subwoofer จะมีช่อง Channel เป็นของตัวเองแล้ว แต่ก็ยังนับเป็น x.1 อยู่ดีเพราะความถี่ของ Subwoofer นั้นมีความถี่ต่ำเกินกว่าที่จะนับเป็บ 1.0 โดย ลำโพง (Speaker) แบบนี้จะ support Dolby Digital และ DTS (Digital Theater Systems) Surround systems โดยเราจะพบเห็นได้ในโรงหนังทั่วไป แต่หากระบบนี้มาอยู่ที่จอทีวีบ้านคุณหรือหน้าคอมพิวเตอร์จะเรียกว่า Destop Theater 5.1 นั้นเองครับ



หลักการของ ลำโพง (Speaker) แบบ 5.1



Speaker 6.1 channel

โดย ลำโพง (Speaker) แบบ 6.1 นี้ ก็จะมีขนาดที่ใหญ่กว่า ลำโพง (Speaker) แบบ 5.1 ที่บอกมาข้างต้น มีช่องสัญญาณที่เพิ่มเข้ามาอีก ลำโพง (Speaker) แต่ละตัวจะมีการจัดวางที่แตกต่างกัน แล้วการให้เสียงก็มีความแตกต่างกันด้วย ลำโพง (Speaker) แบบนี้เริ่มเป็นที่นิยมมากขึ้นในตอนนี้ สามารถให้เสียงที่ไพเราะ มีคุณภาพเสียงที่ดี ทำให้บ้านของท่านกลายเป็นสถานบันเทิงย่อมๆได้เลย ลำโพง (Speaker) แบบ 6.1 ที่มีขณะนี้ก็มีอยู่ด้วยกันหลายรุ่น อย่างเช่นของ Creative คือ Creative Inspire 6600



ตัวอย่าง ลำโพง (Speaker) แบบ 6.1 ของ Creative inpire 6600



Destop Theater 7.1 (8 channel)

ลำโพง (Speaker) แบบนี้เป็น ลำโพง (Speaker) ที่หรูที่สุดในบรรดา ลำโพง (Speaker) ที่บอกมาข้างต้นและกำลังเป็นที่นิยมในปัจจุบันนี้ แต่ยังมีให้เห็นไม่มากนัก มีความแตกต่างจาก 5.1 ก็คือจะเพิ่ม ลำโพง (Speaker) ตรง กลางซ้าย, กลางขวา มาอีก 2 ตัว โดยโหมดนี้ ต้องใช้ควบคู่ไปกับซาวนด์การ์ดที่เป็นแบบ 7.1ซึ่งซาวนด์การ์ดแบบ 7.1 แชนแนลนี้ในท้องตลาดของเราเริ่มจะมีให้เห็นกันมากขึ้นแล้ว เช่น ซาวนด์การ์ดในตระกูล Creative SB Audigy 2 ZS หรือ Creative SB Audigy 2 NX ระบบ ลำโพง (Speaker) ดังกล่าวที่บอกนั้นจะมีให้เห็นแต่ ในโรงหนังหรูๆ และ Home Theater ราคาแพงครับ โดยหวังว่า Creative เจ้าพ่อวงการซาวนด์การ์ดจะทำการผลิตซาวนด์การ์ดแบบ 7.1 ออกมาเร็วๆนะครับ



หลักการของ ลำโพง (Speaker) แบบ 7.1



การเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) ต้องคำนึงถึงสิ่งใดบ้าง (How To Buy)

เมื่อทำความรู้จักกับประเภทของ ลำโพง (Speaker) ที่ได้บอกมาแล้ว มาถึงตอนที่ต้องการจะซื้อแล้ว การไปเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) ให้ตระหนักไว้ว่า การเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) กับเหมือนกับการเลือกซื้ออุปกรณ์ต่างๆอย่างเช่น จอภาพ เมาส์ คีย์บอร์ด นั้นคืออุปกรณ์ดังกล่าวอัพเกรดไม่ได้ นอกจากทิ้งและซื้อใหม่สถานเดียว การเลือก ลำโพง (Speaker) จึงต้องการความประณีต ต้องการการทดสอบก่อนใช้งาน ต้องการการทดสอบฟังเสียง เพราะบางทีอาจได้ ลำโพง (Speaker) ที่ไม่ถูกใจ เช่นต้องการเสียงปืนใหญ่ ออกมากลายเป็นเสียงปืนแก๊ป หรือเสียงรถแข่งกลายเป็นเสียงที่ฟังไม่ออกว่าเป็นรถแข่ง ดังนั้นประการแรกเลยก็คือ ทดสอบฟังเสียง ยิ่งถ้าได้ทดสอบกับระบบที่ใช้การ์ดเสียงตัวเดียวกับที่เราเป็นเจ้าของอยู่ก็จะดีมาก เพราะจะได้ทดสอบเพิ่มเติมว่าเสียงที่ได้นั้น ดังที่สุดเท่าใด และเบาที่สุดขนาดไหน



ทดสอบ ลำโพง (Speaker) ก่อนการเลือกซื้อ

การเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) นั้น เครื่องมือในการทดสอบพลังเสียงที่ดีทีสุดคือ หูของเราเอง อย่างไรก็ตาม ประสบการณ์ในการฟังของแต่ละคนแตกต่างกัน ถ้าหากใครที่เคยมี ลำโพง (Speaker) มีระบบมัลติมีเดียมาบ้างแล้ว อาจจะได้รับประสบการณ์จากการใช้งาน การฟังเสียง ลำโพง (Speaker) เดิมมาบ้าง แต่ถ้าหากไม่มีประสบการณ์มาก่อนเลย ก็อาจจะทำให้การเลือกซื้อนั้นลำบากไปบ้าง นอกจากนี้สภาพแวดล้อมของการทดสอบฟังเสียงก็ยังแตกต่างกันออกไป เสียงรอบข้างที่รบกวนมีผลทำให้ผลการทดสอบไม่เด่นชัด เลือกไม่ถูกว่า ได้ ลำโพง (Speaker) ที่ถูกใจหรือยัง แต่สิ่งที่ไม่ควรกระทำอย่างยิ่งคือ การตัดสิน ลำโพง (Speaker) จากรูปทรงภายนอก เห็นว่ามีรูปทรงสวยขนาดใหญ่ รูปทรงทันสมัย แสดงว่าอาจจะมีเสียงดี หรือตัดสินจากการทนแรงขับ เป็นวัตต์ของ ลำโพง (Speaker) เช่น 26 ,96 ,120วัตต์ PMPO /RMS พวกนั้นเป็นสิ่งที่หลอกลวงผู้ซื้อได้ง่ายที่สุด อย่าหลงประเด็นเป็นอันขาด ทำนองเดียวกับเครื่องเสียงมินิคอมโปที่ขายกันอยู่ตามร้านขายเครื่องเสียงทั่วไป การทดสอบทำได้โดยการทดสอบด้านที่ต้องการนำเอาไปใช้งาน ถ้าหากต้องการนำเอาไปฟังเพลงก็ทดสอบว่าเมื่อใช้ฟังเพลง ลำโพง (Speaker) นั้นให้มิติของเสียงครบหรือไม่ เสียงทุ้ม เสียงแหลม ความสมจริงของเสียงดนตรี ประการนี้หากใครเป็นนักเล่นเครื่องเสียง นักฟังเพลงอยู่แล้วก็คงจะง่ายขึ้น หรือเมื่อต้องการซื้อ ลำโพง (Speaker) ไปเล่นเกมส์ ก็ควรได้ ลำโพง (Speaker) ที่มีลักษณะให้เสียงทุ้มได้มาก ให้เสียงได้ดัง มีกำลังวัตต์สูงๆ เพราะอรรถรสของการเล่นเกมส์นั้น ปฏิเสธกันไม่ได้ว่าเสียงมีส่วนเป็นอย่างมาก
การทดสอบทั่วไปอาจทำโดยการทดสอบเล่นเกมส์ที่มีซาวนด์เอฟเฟ็คหลากหลาย เสียงที่ได้ยินช่วงนี้จะเป็นเสียงสังเคราะห์ซึ่งเหนือจริงเป็นส่วนใหญ่ ทดสอบการเล่นเพลงคาราโอเกะ ซึ่งเสียงจากคาราโอเกะนั้นจะละม้ายคล้ายคลึงกับเสียงดนตรีที่เล่นกันทั่วไป เพราะนอกจากการสังเคราะห์ของ Wave Table เสียงควรใส ให้ความกระจ่างในเสียงดนตรี ทดสอบการฟังเพลงจากแผ่นซีดีเพลง เสียงที่ได้ส่วนนี้อาจจะนำไปเปรียบเทียบกับเสียงที่ได้ยินเมื่อฟังจากเครื่องมินิคอมโปก็ได้ ระหว่างการทดสอบนั้น ควรปรับเสียงดัง-เบา เพื่อทดสอบความแตกต่างด้วย ว่ามีความแตกต่างมากน้อยเพียงใด



ปุ่มฟังก์ชันของ ลำโพง (Speaker) ที่ใช้ในการปรับเสียงให้ตรงกับความต้องการ

หลังจากพิจารณาแล้ว ลำโพง (Speaker) ตัวไหนเป็นเสียงที่ยอมรับได้ ต่อไปคือ ดูว่ามีปุ่มแต่งเสียงอย่างไรบ้าง สำหรับ ลำโพง (Speaker) แบบมีสองข้าง แบบสเตริโอ ควรมีปุ่ม BASS สำหรับการปรับเสียงทุ้ม มีปุ่ม Treble สำหรับการปรับเสียงแหลม มีปุ่ม Balance สำหรับปรับความสมดุลระหว่างเสียงสองข้าง ปุ่ม 3 มิติ สำหรับการเล่นระบบ 3 มิติ จากการตรวจสอบการ์ดเสียงและซอฟต์แวร์ในการใช้งานระบบมัลติมีเดียที่มีใช้ทั่วไปในคอมพิวเตอร์ พบว่าปุ่มฟังก์ชันในการปรับแต่งเสียงเหล่านั้นด้วย ทำให้ไม่สามารถปรับแต่งเสียงในระดับที่พอใจได้ ดังนั้นการเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) ที่มีปุ่มปรับเสียงแหลม ทุ้ม ควบคุมระดับความดังของเสียง ควบคุมสมดุลของ ลำโพง (Speaker) ซ้ายขวา จึงเป็นทางเลือกที่เหมาะสมที่สุด
สำหรับ ลำโพง (Speaker) ชุดที่มีซับวูเฟอร์ โดยมากมีเพียงปุ่มปรับระดับความดังของเสียง โดยมี 2 ตำแหน่ง สำหรับควบคุม ลำโพง (Speaker) คู่ ทั้งซ้ายและขวา 1 ตำแหน่ง และสำหรับการควบคุมซับวูเฟอร์อีก 1 ตำแหน่ง ทั้งนี้ ในการปรับก็ขึ้นอยู่ความต้องการของผู้ใช้แต่ละคน ว่าต้องการระดับเสียงทุ้มในปริมาณใด หากน้อยเกินไปก็ไม่ได้ยินเสียงทุ้ม หากมากเกินไปทำให้บรรยากาศอบอวลไปด้วยเสียงทุ้ม ฟังแล้วไม่เป็นธรรมชาติ อย่างไรก็ตาม ลำโพง (Speaker) แบบมีซับวูเฟอร์บางรุ่น มีปุ่มควบคุมเสียงทุ้ม เสียงแหลม และปรับระดับเสียงชุดเดียว จะเห็นว่าความแตกต่างนั้นขึ้นกับผู้ผลิตและออกแบบนั้นเอง





ราคาของ ลำโพง (Speaker)

ราคานับว่าเป็นเหตุผลอย่างหนึ่งในการตัดสินใจเลือกซื้อ ลำโพง (Speaker) ราคา ลำโพง (Speaker) สำหรับระบบมัลติมีเดียนั้นมีให้เลือกกันตั้งแต่ราคาร้อยไปจนหลายพันก็มี สำหรับระบบคอมพิวเตอร์แล้ว ลำโพง (Speaker) นั้นควรมีราคาเท่าไรดี ถ้าจะให้เหมาะสมควร 1000 ถึง 6000 บาทไม่ควรน้อยหรือมากไปกว่านี้ เพราะเอาตามหลักการซื้อเครื่องเสียง ราคา ลำโพง (Speaker) ก็ควรจะมีราคาเท่ากับของราคาของซาวน์การ์ด ดังนั้นในคอมพิวเตอร์ ถ้าการ์ดเสียงราคา 1000 บาท ลำโพง (Speaker) ก็ควรราคา 1000 บาท แต่ถ้า ลำโพง (Speaker) ราคาแพงกว่านั้นก็แสดงว่าจะได้เสียงที่ดีขึ้น เดี๋ยวนี้ราคาซาวนด์การ์ดที่มีคุณภาพดีก็มีราคาที่ลดลงมากแล้วจากแต่ก่อน ลำโพง (Speaker) ที่เราซื้อนั้นควรจะมีภาคขยายเสียง (Amplifier) ด้วย ส่วนขนาดของ ลำโพง (Speaker) ควรพอเหมาะพอดีกับโต๊ะวางคอมพิวเตอร์ ไม่ใช่ว่าใหญ่เกินไปหรือเล็กเกินไป ถ้าใหญ่เกินไปก็จะเกะกะวางลำบาก ถ้าเล็กเกินไปเสียงก็ไม่ดีเท่าที่ควร แต่ก็มี ลำโพง (Speaker) ที่มีขนาดเล็กแต่เสียงใหญ่เกินตัวก็มี อย่างเช่น ลำโพง (Speaker) ของ Boston Acoustic ซึ่งเป็นรุ่นที่ออกแบบเป็นพิเศษสำหรับระบบคอมพิวเตอร์ มีขนาดที่ไม่ใหญ่ แต่เสียงใหญ่เกินตัว อย่างไรก็ตาม ก่อนจะเลือกซื้อ แนะนำให้ทำการทดสอบก่อน เพื่อดูว่าเสียงแบบไหนที่เหมาะสมกับท่าน สำหรับชุด ลำโพง (Speaker) แบบมีซับวูเฟอร์นั้นราคาจะอยู่ประมาณ 800 จนถึงราคาเกือบหมื่นบาทก็มี ซึ่ง ลำโพง (Speaker) แบบมีซับวูเฟอร์นี้มีราคาที่ต่ำลงกว่าแต่ก่อนมาก แต่คุณภาพเสียงก็ตามราคานะครับ.

สรุปส่งท้าย

หลังจากพิจารณาความเหมาะสมในการเลือก ลำโพง (Speaker) ได้เรียนรู้ประเภทของ ลำโพง (Speaker) ต่างๆ ได้รู้ชนิดของ ลำโพง (Speaker) ต่างๆสำหรับการใช้งานจริง ๆ ของคุณแล้ว ต่อไปก็ตัดสินใจด้วยหูของคุณเอง ก่อนที่จะเลือกซื้อ ให้ลองฟังเสียง ลำโพง (Speaker) หลาย ๆ ยี่ห้อที่มีระดับราคาเดียวกัน และเป็นราคาที่ท่านสามารถซื้อได้ ถ้าเจอ ลำโพง (Speaker) เสียงแบบที่คุณถูกใจ สเปกของ ลำโพง (Speaker) ก็อาจจะไม่ใช่เรื่องสำคัญอีกต่อไปก็ได้ครับ เพราะมักมีผู้กล่าวไว้ว่าเรื่องของเสียงไม่มีคำว่าผิดหรือถูก มีแต่ว่าชอบหรือไม่ชอบเท่านั้น จึงเป็นหน้าที่ที่คุณจะต้องตัดสินใจแล้วนะครับ…
ที่มา  http://www.buycoms.com/buyers-guide/speaker/index.asp

Tags : ซื้อ ลำโพง Speaker

ความคิดเห็น

แสดงความคิดเห็น

* *

 

*

view